AB DIS 10/10/2024 : Mucocutaneous disorder & Vesiculobullous disease

00:42:39
https://www.youtube.com/watch?v=3bORpZrxzGE

Summary

TLDRThe video introduces mucocutaneous disorders, specifically focusing on pemphigus vulgaris, an autoimmune disease characterized by blistering of the skin and mucous membranes. The condition often begins with blister formation that progresses to erosions due to the body’s immune system mistakenly attacking desmosomes, structures vital for cellular adhesion in the epidermis. The pathogenesis involves autoantibodies, especially IgG types, targeting desmogleins, key proteins in cell junctions, leading to loss of cell adhesion (acantholysis). Typically, it affects middle-aged to elderly individuals, with a higher prevalence among women, Jews, Asians, and Mediterranean people. Diagnosis is confirmed through clinical examination, histological analysis, and immunofluorescence tests that visualize specific immune complexes. Treatment mainly involves immunosuppressive drugs to manage the chronic nature of the disease. Other mucocutaneous disorders mentioned include mucous membrane pemphigoid and lichen planus, characterized by different histological and clinical features.

Takeaways

  • 🩺 Pemphigus vulgaris is an autoimmune blistering disorder affecting skin and mucous membranes.
  • 🔍 Diagnosed through clinical evaluation and specific laboratory tests including immunofluorescence.
  • 🧬 Involves autoantibodies against desmogleins, leading to loss of cell adhesion.
  • 👵 Affects predominantly middle-aged to elderly individuals, with women more frequently affected.
  • 🌍 More prevalent among Jewish, Asian, and Mediterranean populations.
  • 💊 Requires management with immunosuppressive drugs to control symptoms.
  • 🦠 Direct and indirect immunofluorescence help identify disease-specific antibodies.
  • 🗺️ Frequently presents first in mucous membranes, such as the oral cavity.
  • 🔬 Pathogenically involves the destruction of cell junctions, causing skin separation.
  • 🦴 Histological features include characteristic intraepidermal vesicles and tombstone patterns in basal cells.

Timeline

  • 00:00:00 - 00:05:00

    Today, we will learn about cutaneous disorders focusing on mucous disorders that can occur on both skin and mucous membranes. These conditions could be classified as vascular diseases based on their clinical presentation, which often involves vesicles or bullae. In medical terminology, a vesicle refers to a small, fluid-filled blister, while a bulla is a larger one. Other terms include 'nodule' and 'papule,' distinguishing between fluid-filled and solid lesions. The discussion then moves to Pemphigus vulgaris, an autoimmune disease characterized by blisters on the skin and mucous membranes. Pemphigus vulgaris accounts for 70% of all cases of Pemphigus.

  • 00:05:00 - 00:10:00

    In Pemphigus vulgaris, blisters initially form in the mouth, often affecting middle-aged and elderly individuals, with a higher prevalence in women and certain ethnic groups like Jews, Asians, and Mediterranean populations. Clinically, blisters appear, rupture, and form ulcers. A positive Nikolsky's sign, where slight rubbing of the skin causes a blister to form, is a key diagnostic criterion. Pathogenesis involves autoantibodies against desmosomes and tonofilament complexes, disrupting cellular adhesion. Microscopically, there is visible acantholysis and blisters above the basal layer but intact basal cells, resembling tombstones.

  • 00:10:00 - 00:15:00

    The histopathology of Pemphigus vulgaris is characterized by intraepithelial vesicles with acantholysis, where epidermal cells lose cohesion. Basal keratinocytes remain attached to the dermis, creating a row of 'tombstone' appearance. Immunofluorescence studies reveal IgG and complement component C3 highlighting intercellular spaces, giving a chicken wire appearance. Indirect immunofluorescence using patient serum confirms circulating pathogenic autoantibodies. In Pemphigus foliaceus, which involves desmoglein 1, blisters occur at a higher epidermal level compared to Pemphigus vulgaris.

  • 00:15:00 - 00:20:00

    In Pemphigus vulgaris, there is evidence of circulating IgG antibodies, primarily targeting desmoglein 3 in mucosal-dominant forms, and both desmoglein 3 and 1 in mucocutaneous types. Desmoglein 1 predominates in the skin, while desmoglein 3 is more in mucosal tissues. The detachment of keratinocytes occurs due to antibody interference, causing blisters and erosions. In normal individuals, these autoantibodies are absent, preventing such manifestations. Direct immunofluorescence reveals staining at cell junctions in a chicken wire pattern, whereas indirect tests use monkey esophagus tissue.

  • 00:20:00 - 00:25:00

    Immunofluorescence testing involves observing specific antibody patterns. Direct immunofluorescence detects antibodies directly on the patient's tissue, indicating already present human IgG in Pemphigus vulgaris. Indirect testing uses patient's serum on non-human tissue, like monkey esophagus, to detect circulating antibodies. The linear pattern on mucous membrane pemphigoid contrasts with the chicken-wire pattern in Pemphigus vulgaris. Techniques like DIF and IIF help in confirming diagnoses by highlighting the presence and location of pathogenic antibodies, crucial for treatment strategies.

  • 00:25:00 - 00:30:00

    Other disorders like mucous membrane pemphigoid, primarily affecting elderly individuals with blisters on mucous membranes, also involve autoimmunity. Histologically, it shows subepithelial blisters. Clinically, characterized by large blisters, it contrasts with the intraepithelial blistering in Pemphigus vulgaris. Direct immunofluorescence often shows linear deposits of IgG or complement along the basement membrane zone, distinguishing it from other blistering diseases. Treatment varies depending on the specific disorder and may involve managing autoimmune activity.

  • 00:30:00 - 00:35:00

    Lichen planus is identified by the 5P's: pruritic, purple, polygonal, planar papules, often occurring on flexor surfaces. It can result in post-inflammatory hyperpigmentation. Histologically, there is hyperkeratosis and a band-like lymphocytic infiltrate beneath the epithelium. The degeneration of basal cells results in a saw-tooth appearance of the dermoepidermal junction. Immunofluorescence highlights fibrinogen or complement components at the junction, distinct from pemphigoid patterns. The chronic nature of lichen planus requires careful longitudinal management.

  • 00:35:00 - 00:42:39

    Lichen planus presents histologically with acanthosis, a band of lymphocytes at the dermoepidermal junction causing basal cell degeneration, and a saw-tooth appearance. Diagnostically, immunofluorescence reveals fibrinogen and complement deposition. The chronic inflammatory process leads to clinical features like papules and potential nail and scalp involvement. Treatment may vary, including topical or systemic therapies, depending on severity and patient response, while histopathological and immunological findings guide therapeutic choices.

Show more

Mind Map

Video Q&A

  • What is pemphigus vulgaris?

    Pemphigus vulgaris is a type of autoimmune disorder affecting the skin and mucous membranes, characterized by blisters and erosions.

  • What are the symptoms of pemphigus vulgaris?

    The most common symptom is blistering of the skin and/or mucous membranes, which can lead to painful erosions.

  • What causes pemphigus vulgaris?

    It is caused by the immune system attacking cells in the skin and mucous membranes, mainly involving antibodies against desmogleins which are components of desmosomes.

  • How is pemphigus vulgaris diagnosed?

    It is diagnosed through clinical examination, biopsy, and immunofluorescence studies which reveal specific autoimmune markers.

  • Who is most at risk for pemphigus vulgaris?

    Middle-aged to elderly individuals, especially those of Jewish, Asian, and Mediterranean descent, are more commonly affected.

  • How does pemphigus vulgaris typically present?

    Mucous membrane involvement is a key feature, often beginning in the mouth before affecting the skin.

  • What laboratory tests are used for pemphigus vulgaris?

    Direct and indirect immunofluorescence are used to detect antibodies characteristic of the disease.

  • Is pemphigus vulgaris treatable?

    Yes, it can be managed with immunosuppressive medications, but it's a chronic condition.

View more video summaries

Get instant access to free YouTube video summaries powered by AI!
Subtitles
th
Auto Scroll:
  • 00:01:56
    วันนี้เราจะมาเรียนเรื่องโโ cutaneous
  • 00:02:00
    disorder โรค
  • 00:02:07
    กลุ่มอ่าวันนี้จะเรียนเรื่อง mucous
  • 00:02:12
    disorder นะครับอันนี้ชื่อโรค
  • 00:02:16
    เนี่ยตามตำแหน่งที่โลกมันจะเกิดคือที่วั
  • 00:02:21
    โคก็คือวัเน cous ก็คือเกิดที่ผิวหนังก็
  • 00:02:26
    คือโรคในกลุ่มเนี้ยจะเกิดได้ทั้งที่ผิว
  • 00:02:29
    หนังแล้วก็มีค mem หรือโรคในกลุ่มนี้อาจ
  • 00:02:33
    จะเรียกอีกอย่างนึงว่าเป็น
  • 00:02:35
    vascular
  • 00:02:37
    diseases อันนี้เรียกตาม clinical
  • 00:02:40
    presentation ของโลกทางคลินิคในในลักษณะ
  • 00:02:44
    เป็น vesical หรือ
  • 00:02:47
    Bull อันนี้เราก็ต้องมารู้จัก magical
  • 00:02:51
    term ก่อนใช่
  • 00:02:54
    มย vesicle แปลว่าอะไร
  • 00:03:00
    เคยรู้จักึป่าอาจารย์ภาสวัตสอนไป
  • 00:03:05
    ยังไม่สอนก็เรียนใหม่ได้อ้า vesicle แปล
  • 00:03:08
    ว่าตุ่มน้ำขนาด
  • 00:03:10
    เล็กแสดงว่าเป็น fluid Field Space ที่
  • 00:03:16
    มันมีขนาดเล็กถ้าเป็นบูเป็นตุ่มน้ำขนาด
  • 00:03:20
    ใหญ่นะ
  • 00:03:25
    ฮะอ่ารูปทางซ้ายนี่เรียกว่าอะไรเออ
  • 00:03:30
    เลยรูปทางซ้ายนี่เรียก
  • 00:03:34
    ว่านะฮะอันนี้จะเป็นบ่านะครับอันนี้จะ
  • 00:03:38
    เป็นบ่าตุ่มน้ำขนาดใหญ่อันนี้
  • 00:03:42
    บ่าต่อมาก็จะมี No กับ paple paple
  • 00:03:48
    เนี่ยแปลว่าตุ่ม
  • 00:03:49
    ตันขนาดเล็กส่วน nodu เนี่ยเป็นตุ่มตัน
  • 00:03:54
    ขนาดใหญ่แสดงว่ามันเป็นเนื้อตันๆไม่ไม่มี
  • 00:03:58
    ฟลูอิดอยู่ข้าข้าง
  • 00:04:01
    ในอย่างรูปซ้ายนี่เรียก
  • 00:04:06
    ว่าอันนี้เรียกว่า
  • 00:04:10
    อะไร
  • 00:04:12
    pull อันรูปขวาเรียกว่า No ตุ่มตันขนาด
  • 00:04:18
    ใหญ่อันนี้ก็จะมาดูโรคตัวแรกในกลุ่มของ
  • 00:04:24
    mucocutaneous disorder ก็คือ picus
  • 00:04:27
    vulgaris อันนี้เป็น autoimmune
  • 00:04:32
    disease โดยจะมี blister แปลว่าตุ่มน้ำ
  • 00:04:37
    ที่บริเวณ Skin แล้วก็ mucus
  • 00:04:40
    เน
  • 00:04:41
    picus เนี่ยมันมีหลายแบบ
  • 00:04:45
    นะที่เราจะเรียนวันนี้ก็คือ picus
  • 00:04:48
    vulgaris หรือย่อว่า PV เนี่ยจะพบประมาณ
  • 00:04:52
    70% ของ picus ทั้งหมดคือในบรรดา picus
  • 00:04:56
    100 เคสเนี่ยจะเป็น picus valar 70%
  • 00:05:01
    แล้วในช่องปากก็จะเป็นตำแหน่งที่เกิดโรค
  • 00:05:04
    เป็นอันดับ
  • 00:05:05
    แรกคนประเภทไหนที่จะเป็น picus vulgaris
  • 00:05:10
    ก็จะเป็นตั้งแต่ middle Age วัยกลางคนไป
  • 00:05:13
    จนถึง elderly Person ก็คือคนแก่ๆผู้
  • 00:05:18
    หญิงจะเป็นมากกว่าผู้ชายเอ่อคนเชื้อชาติ
  • 00:05:22
    ไหนจะเป็นก็คือคนยิวเอเซียแล้วก็
  • 00:05:27
    เมดิเตอร์เรเนียน
  • 00:05:29
    เมดิเตอร์เรเนียนก็คือที่มันอยู่ล้อมรอบ
  • 00:05:33
    ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเช่นอิตาลีรีซประมาณ
  • 00:05:39
    นี้ลักษณะทางคลินิกของ picus vulgaris
  • 00:05:43
    ก็จะเป็นบูหรือเป็นตุ่มน้ำขึ้นมาก่อนต่อ
  • 00:05:47
    มาตุ่มน้ำแตกออกกลายเป็นแผลนะ
  • 00:05:51
    ฮะมีศัพท์ที่ต้องเรียนรู้ก็คือนิคกี้ไ
  • 00:05:56
    นิคกี้ไคืออะไรสมมุติว่าคนไข้เนี่ยมีตุ่ม
  • 00:06:00
    น้ำอยู่ตรงนี้ใช่ไหมมครับเราเอาเครื่อง
  • 00:06:05
    มือทู่ๆไปถูเบาๆที่บริเวณเนื้อเยื่อปกติ
  • 00:06:13
    ที่อยู่ใกล้เคียงกับรอยโลกเช่นตรงนี้แล้ว
  • 00:06:17
    มันจะบวมเป็นตุ่มน้ำขึ้นมาอันนี้คือ niky
  • 00:06:20
    ไ Positive นะคือตอนแรกคนไข้มีตุ่มน้ำ
  • 00:06:24
    อยู่ตรงนี้อย่างเดียวเราเอาเครื่องมือทู่
  • 00:06:26
    ๆเนี่ยไปถูเบาๆที่ตำแหน่งของเนื้อเยื่อ
  • 00:06:30
    ปกติที่อยู่ข้างๆกับรอยโรคแล้วมันเกิด
  • 00:06:35
    ตุ่มน้ำขึ้นมาอันเนี้ยเรียกว่า niky S
  • 00:06:40
    Positive ลักษณะทางคลินิกของ picus bis
  • 00:06:44
    ก็มันจะเป็นตุ่มน้ำขึ้นมาก่อนแล้วมันก็จะ
  • 00:06:48
    ตุ่มน้ำจะแตกออกก็จะเห็นอาจจะเป็นเห็นรอย
  • 00:06:51
    แดงๆของอรชหรือเป็น
  • 00:06:55
    แผลอันนี้ก็คือเป็นรูปตุ่มน้ำที่ผิวหนัง
  • 00:06:59
    นะฮะอันนี้ต่อมาตุ่มน้ำแตกออกก็จะกลาย
  • 00:07:02
    เป็นแผลเกิดขึ้นหรือรอย
  • 00:07:05
    erosion pathogenesis ของ picus vgis
  • 00:07:09
    อันนี้เป็น autoimmune disease เพราะ
  • 00:07:12
    ฉะนั้นคนไข้ก็จะมี Auto antibody โดย
  • 00:07:15
    เฉพาะอย่างยิ่งเป็น igg type ซึ่ง
  • 00:07:20
    แิอของคนไข้เนี่ยก็จะไปทำปฏิกิริยากับ
  • 00:07:24
    desmosome แล้วก็ T filament
  • 00:07:27
    Complex ทำให้มีการการทำลายของพวก T
  • 00:07:31
    filament Complex ทำให้สูญเสียการยึด
  • 00:07:34
    เกาะกันของ
  • 00:07:38
    เซลล์อันนี้เป็นภาพไไมโครสโคปที่ย้อม H
  • 00:07:42
    นะฮะอันนี้เป็นเซลล์ที่ 1 อันนี้เป็น
  • 00:07:45
    เซลล์ที่ 2 นะครับแล้วก็มาทำดู Higher
  • 00:07:49
    magnification นะอันนี้เป็นเซลล์ที่ 1
  • 00:07:52
    อันนี้เป็นเซลล์ที่ 2 ก็จะเห็นช่องว่าง
  • 00:07:55
    ระหว่าง 2 เซลล์เป็นช่องขาวๆนี่เห็นมย
  • 00:07:58
    ครับ
  • 00:07:59
    แล้วก็ระหตรงระหว่างช่องขาวๆเนี่ยก็จะ
  • 00:08:03
    มีเส้นเล็กๆเชื่อมระหว่าง 2 เซลล์อันนี้
  • 00:08:06
    เรียกว่าอะไร
  • 00:08:10
    นะอันนี้เรียกว่าอะไร
  • 00:08:13
    นะไม่ใช่ระหว่างดูด้วยไล์ไมโครสโคปอันนี้
  • 00:08:18
    ดูดูด้วยกล้องจุลทัศน์
  • 00:08:21
    ธรรมดาอันนี้เป็นเซลล์ที่ 1 อันนี้เป็น
  • 00:08:24
    เซลล์ที่ 2 ระหว่าง 2 เซลล์จะมีช่องขาวๆ
  • 00:08:26
    อยู่และมองไปดีๆระหว่างช่องของขาขาเนี่ย
  • 00:08:30
    จะมีเส้นเป็นขาเล็กๆเชื่อมระหว่าง 2
  • 00:08:33
    เซลล์หลายๆอันอันนี้เรียกว่า
  • 00:08:36
    intercellular
  • 00:08:38
    Bridge intercellular
  • 00:08:44
    Bridge ไอ้ช่องขาวๆเนี่ก็เป็นรอยต่อ
  • 00:08:48
    ระหว่างเซลล์ 2 อันก็เรียกว่า
  • 00:08:51
    intercellular Junction ตรง
  • 00:08:54
    นี้นี่ดูด้วยไลไมโครสโคปนะครับ
  • 00:08:59
    ถ้าเราดูตำแหน่งเดียวกันด้วยอิเล็กตรอน
  • 00:09:03
    ไมโครสโคปซึ่งมันจะขยายมากกว่าไไมโครสโคป
  • 00:09:07
    เป็นพันๆเท่าอันนี้ก็เป็นไดอะแกรมนะนี้
  • 00:09:11
    เป็นเซลล์เซลล์ที่ 1 นะอันนี้เป็นเซลล์
  • 00:09:13
    เซลล์ที่ 2 เซลล์ 2 เซลล์มันจะมาเชื่อม
  • 00:09:17
    กันเราเรียกตรงตำแหน่งที่เซลล์ 2 เซลล์
  • 00:09:20
    เชื่อมกันเนี่ยเป็นว่า
  • 00:09:23
    เมมอันนี้ดูด้วยอิเล็กตรอนไมโครสโคปนะไม่
  • 00:09:27
    ได้ดูด้วยก้องจุลทัศน์อันนี่ขยายใหญ่ขึ้น
  • 00:09:31
    desmosome เนี่ยก็จะประกอบด้วย
  • 00:09:34
    attachment PL แล้วก็พวก T
  • 00:09:39
    fil อันนี้ก็เป็นไดอะแกรมนี่เซลล์เซลล์
  • 00:09:43
    ที่ 1 อันนี้เป็นเซลล์ที่ 2 เ่อระหว่าง 2
  • 00:09:46
    เซลล์มันก็จะมี linking โปรตีนยื่นออกมา
  • 00:09:49
    เกาะกันตัวอย่างของ linking โปรตีนก็เช่น
  • 00:09:53
    desen 1 หรือ des moren 3 อันนี้ก็จะ
  • 00:09:57
    เป็น linking โปตนที่ทำให้เซลล์ 2 เซลล์
  • 00:09:59
    มันเกาะ
  • 00:10:00
    [เพลง]
  • 00:10:01
    กันอันนี้ใน pathogenesis ของ picus val
  • 00:10:06
    garis ก็คือในคนไข้จะมี aut antibody
  • 00:10:09
    นะ Auto antibody 2 des morin 3 ใน
  • 00:10:14
    mucosal dominant disease คืออันนี้
  • 00:10:18
    เป็นอ่าเซลล์ที่ผิวหนังนะครับก็จะเห็นว่า
  • 00:10:24
    ที่ผิวหนังเนี่ยมันก็จะมี linking โปรตีน
  • 00:10:28
    ส่วนใหญ่จะเป็นเป็น desmo Green 1 มี
  • 00:10:31
    desmo Green 3 อ่ะน้อยฮะอันนี้ก็จะ
  • 00:10:33
    เห็นว่ามันมีสีฟ้าๆนี่ก็คือ DM Green 1
  • 00:10:36
    จากเซลล์อันนี้เป็นเซลล์ที่ 1 อันนี้เป็น
  • 00:10:39
    เซลล์ที่เซลล์ที่ 2 มันก็จะมี linking
  • 00:10:42
    โปตนคือ desmo One จากแต่ละเซลล์ยื่นออก
  • 00:10:45
    มาเกาะกันนะอันนี้ที่ Skin เนี่ยมันจะ
  • 00:10:49
    เป็น des moren 1 เป็นส่วนใหญ่จะมี des
  • 00:10:52
    moren 3 ที่เป็นสีเหลืองเนี่ยเป็นจำนวน
  • 00:10:54
    น้อยถ้าคนไข้มีแอนติบอดี้ต่อ des Bin
  • 00:11:00
    แิอก็จะไปเกาะกับ des morin tre แิอก็
  • 00:11:04
    เป็น W shap Structure ที่สีส้มส้มนี้
  • 00:11:08
    ก็จะไปจับกับ desmo Green tre ที่เป็น
  • 00:11:11
    สีเหลืองก็จะขัดขวางการเกาะกันระหว่าง des
  • 00:11:16
    Green 3 ทั้ง 2 อันแต่ desmo Green 1
  • 00:11:21
    ก็ไม่มีผลอะไรก็ยังเกาะกันได้อยู่เพราะ
  • 00:11:24
    ฉะนั้นเนื่องจากที่ผิวหนังส่วนใหญ่เป็น
  • 00:11:28
    des Green เพราะฉะนั้นแอนติบอดี้ก็ไม่
  • 00:11:31
    รบกวนการเกาะกันของเซลล์ที่สกินมากนักผล
  • 00:11:36
    ก็คือไม่เกิดรอยโรคให้เห็นได้ที่
  • 00:11:41
    Skin แต่ที่วัเมนส่วนใหญ่จะเป็น desen
  • 00:11:47
    tre พอคนไข้มีแอนติบอดี้ต่อ des moren
  • 00:11:52
    tre แิบก็จะไปจับกับ des moren Tree
  • 00:11:56
    ก็จะขัดขวางกันเกาะกัน
  • 00:11:59
    ระหว่างเมน tre ระหว่าง 2
  • 00:12:03
    เซลล์ทำให้เมน tre เกาะกันไม่ได้ก็เลยทำ
  • 00:12:08
    ให้เซลล์สูญเสียกันยึดเกาะกันก็จะเห็นรอย
  • 00:12:13
    แยกนะในชั้นของธีมที่บริเวณัเมนในขณะที่
  • 00:12:21
    ตรงสินเนี่ยไม่มี
  • 00:12:27
    ผลดูถ้าคนปกติ Healthy Person ก็จะไม่มี
  • 00:12:33
    aut antibody ทั้งต่อ desmo 1 และ des
  • 00:12:36
    moren 3 ก็จะไม่มีรอยโลกให้เห็นได้ก็จะ
  • 00:12:41
    เห็นชั้นของ Skin เนี่ยปกตินะ
  • 00:12:45
    ครับถ้าในคนไข้ที่เป็น pemphigus
  • 00:12:49
    vulgaris แบบ mucosal dominant type
  • 00:12:52
    ก็คือเกิดที่บริเวณ mucus เนคนไข้จะมีแิอ
  • 00:12:58
    ต่อ des morin
  • 00:13:01
    3 แต่ไม่มี an ิอต่อ des morin 1
  • 00:13:07
    เพราะฉะนั้นที่ Skin ซึ่งส่วนใหญ่เป็น des
  • 00:13:10
    M Green One ก็ไม่มีผลอเพราะฉะนั้นที่
  • 00:13:14
    Skin ก็ปกติแต่ที่ัเนเนื่องจากเอ่อ
  • 00:13:19
    linking โปนเนี่ยส่วนใหญ่จะเป็น des
  • 00:13:21
    mogen tre คนไข้มีแิอต่อ desen tre ก็
  • 00:13:26
    จะไปเกาะกับ desen tre ขัดขวางกันยึด
  • 00:13:30
    เกาะกันของเมน tre ระหว่าง 2 เซลล์ก็ทำ
  • 00:13:34
    ให้มีรอยโรคเกิดขึ้นในชั้นของัเมนพอตัด
  • 00:13:40
    his มาดูก็จะเห็นรอยแยกเห็นมเป็นช่อง
  • 00:13:44
    ว่างรอยแยกในชั้นของเอ่อิธี
  • 00:13:49
    ของั
  • 00:13:51
    [เพลง]
  • 00:13:53
    เมนถ้าคนไข้เป็น picus boris แบบ mcut
  • 00:13:59
    คนไข้จะมีแิอทั้งต่อ desen 1 และ desen
  • 00:14:03
    3 เพราะฉะนั้นแิอต่อ desen 1 ก็จะไป
  • 00:14:07
    เกาะกับ des M Green One ก็จะขัดขวาง
  • 00:14:10
    การยึดเกาะกันของ desen One นั้นคนไข้ก็
  • 00:14:14
    จะมีรอยโรคที่ Skin นะก็จะเห็นรอยแยกที่
  • 00:14:19
    Skin ในขณะเดียวกันแิอต่อเมน tre ก็จะไป
  • 00:14:24
    เกาะกับเมน Tree ขัดขวางการยึดเกาะกันของ
  • 00:14:29
    เมน tre ระหว่าง 2 เซลล์เนื่องจากที่
  • 00:14:32
    บริวณัเนส่วนใหญ่จะเป็น des mogen tre
  • 00:14:36
    เพนั้นก็จะเกิดรอยโรคที่ัเมนด้วยเพราะ
  • 00:14:40
    ฉะนั้นใน mucous type คนไข้ก็จะมีรอยโรค
  • 00:14:45
    ทั้งที่ Skin ะก็ั
  • 00:14:48
    เนอันนี้มาดู picus แบบอื่นเช่น picus
  • 00:14:53
    fias นะฮะคนไข้จะมีแิอต่อ des moren
  • 00:14:58
    One แต่ว่าไม่มีแอนติบอดี้ต่อ desen tre
  • 00:15:02
    เพราะฉะนั้นคนไข้ก็จะมีรอยโรคที่บริเวณ
  • 00:15:06
    ผิวหนังเท่านั้นแต่จะสังเกตเห็นว่ารอยแยก
  • 00:15:09
    เนี่ยมันอยู่คนละระดับกับ picus vgis
  • 00:15:14
    vgis เนี่ยจะอยู่รอยแยกเนี่ยจะอยู่เหนือ
  • 00:15:17
    ชั้น basal เซลแต่ใน pemphigus ชสนั้นรอย
  • 00:15:22
    แยกมันจะอยู่สูงขึ้นไปนะมันเป็นคนละชนิด
  • 00:15:26
    กันของ picus นะครับ
  • 00:15:29
    ทานี้มาดูลักษณะทาง his ของ picus valis
  • 00:15:34
    อันที่ 1 เราจะเห็น intra epal vesicle
  • 00:15:38
    หรือ bulla ก็คือเห็นตุ่มน้ำอยู่ภายใน
  • 00:15:43
    ชั้นิมหรืออาจจะเรียกอีกอย่างนึงว่าเป็น
  • 00:15:47
    cf Light spaces เป็นช่องว่างที่เกิด
  • 00:15:50
    ขึ้นอยู่ภายในชั้นียมเกิดจาก process ที่
  • 00:15:55
    เรียกว่า
  • 00:15:56
    Aris Aris เนี่ยแปลว่าการสูญเสียการยึด
  • 00:16:02
    เกาะกันระหว่างเซลล์มันจะคล้ายๆกับศัพท์
  • 00:16:06
    ที่เคเคยเรียนมาแล้ว aant Thesis aant
  • 00:16:10
    Thesis แปลว่า trick thickening of
  • 00:16:13
    ชั้น pric Cell layer แต่อันนี้
  • 00:16:17
    acis แปลว่าการสูญเสียการยึดเกาะกัน
  • 00:16:21
    ระหว่างเซลล์นะก็จะเกิดขึ้นที่บริเวณ
  • 00:16:25
    stratum spinosum หรือ pri Cell layer
  • 00:16:29
    เราก็จะเห็นเซลล์ของชั้น stratum
  • 00:16:32
    สนัมรูปแบบเป็นเซลล์เดี่ยวๆหรือเป็นกลุ่ม
  • 00:16:36
    ของเซลล์ลอยอยู่ในตุ่มน้ำเราเรียกเซลล์
  • 00:16:40
    พวกนี้ว่า S
  • 00:16:43
    เซลตัว T ไม่ออกเสียงนะฮะ sank cell
  • 00:16:48
    หรือ aant
  • 00:16:51
    Cell ส่วน Bal Cell เนี่ยก็สูญเสีย
  • 00:16:54
    intercellular adhesion เหมือนกันแต่
  • 00:16:57
    ยังคงเกาะติดกับชั้น connective tissue
  • 00:17:01
    ข้างล่างลักษณะเหมือนกับหินที่อยู่หน้า
  • 00:17:06
    หลุมฝังศพของฝรั่งก็คือ Tom
  • 00:17:09
    Stone ถ้าเราทำ direct
  • 00:17:11
    immunofluorescence เราจะพบว่ามี igg
  • 00:17:15
    แล้วก็ component Factor 3 เนี่ยจะไป
  • 00:17:19
    เกาะอยู่ที่ intercellular region ของ
  • 00:17:23
    epidermis อันนี้ก็จะเป็นรูปของ his ของ
  • 00:17:27
    picus vulgaris นะฮะอันนี้ตั้งแต่ตรง
  • 00:17:29
    นี้ถึงตรงนี้เป็นส่วนของ epidermis ถูก
  • 00:17:32
    มั้ยครับปกติมันก็จะเป็นเซลล์ของ
  • 00:17:36
    epidermis ตันๆแต่อันนี้จะเห็นว่ามันมี
  • 00:17:39
    รอยแยกที่เป็นขาวๆอยู่เหนือชั้นเซอเซลล์
  • 00:17:44
    นะฮะดูอันนี้เป็นกำลังขยายใหญ่ขึ้นจะเห็น
  • 00:17:48
    ว่ารอยแยกที่เป็นช่องขาวๆเนี่ยอยู่เหนือ
  • 00:17:51
    Bal เซล์ Bal เซลอยู่ตรงนี้นะฮะนี่คือ
  • 00:17:54
    Bal
  • 00:17:55
    เซลแล้วในตุ่มน้ำเนี่ยก็จะมีเซลล์ที่ลอยๆ
  • 00:18:01
    อยู่ในตุ่มน้ำพวกนี้นะฮะพวกนี้ก็คือ S
  • 00:18:05
    เซลหรือ atic
  • 00:18:11
    Cell ให้ดูอีกรูปนึงชัดๆอันนี้ปกติถ้า
  • 00:18:15
    เกิดเป็นปกติเนี่ยก็ตั้งแต่ตรงนี้จนถึง
  • 00:18:18
    ตรงนี้จะเป็นส่วนของิมก็จะเป็นลักษณะ
  • 00:18:22
    อย่างนี้แน่นๆแต่ในคนที่เป็น picus valar
  • 00:18:27
    จะเห็นว่ามีช่องว่างขาวๆพวกนี้เห็นมั้ย
  • 00:18:29
    ครับเป็นรอยแยกที่เกิดขึ้นภายในชั้นธีมนะ
  • 00:18:34
    ฮะอันนี้ก็คือ CP Light Space หรือ
  • 00:18:38
    vesicle หรือ่าที่เกิดขึ้นภายในชั้นธีม
  • 00:18:42
    ช่องขาวๆเนี่ยแล้วดูในช่องก็จะมีเซลล์ลอย
  • 00:18:47
    ๆอยู่อาจจะเป็นเซลล์
  • 00:18:49
    เดียวหรือเป็นกลุ่มของเซลล์อันนี้พวกนี้
  • 00:18:53
    เรียกว่า S cell หรือ anant Sell นะ
  • 00:18:57
    ครับอนี้ tic cell หรือ S
  • 00:19:01
    Cell ส่วนอันนี้เป็นชั้นของ basal Cell
  • 00:19:05
    ยังเกาะอยู่กับ connective tsue เป็น
  • 00:19:07
    เซลล์ๆเดียวเกาะอยู่กับ connective
  • 00:19:10
    tissue ลักษณะคล้ายๆกับหินที่อยู่หน้า
  • 00:19:14
    หลุมฝังศพฝรั่งก็คือเหมือนกับ a Row of
  • 00:19:18
    tombstone อันนี้นะฮะ basal
  • 00:19:23
    Cell ถ้าเราทำ immunofluorescence
  • 00:19:30
    จะเห็นมีการสะสมของ igg หรือ complement
  • 00:19:34
    Factor 3 ที่บริเวณ intercellular
  • 00:19:36
    region ก็จะเห็นว่ามี fluent signal
  • 00:19:40
    ที่เห็นเป็นสีเขียวๆเข้มๆเนี่ยอยู่
  • 00:19:44
    ตรงบริเวณที่เซลล์ 2 เซลล์มันต่อกันนะฮะ
  • 00:19:48
    ก็คือ intercellular region นะจะเห็น SI
  • 00:19:52
    fluence signal ที่เป็นสีเขียวๆเนี่ย
  • 00:19:55
    อยู่รอบๆเซลล์อันนี้นะฮะลักษณะ
  • 00:19:59
    เมื่อดูแล้วฝรั่งดูแล้วก็คล้ายๆ
  • 00:20:03
    กับ
  • 00:20:06
    ลวดเดี๋ยวก่อนคล้ายๆกับตาข่ายที่ขึงกง
  • 00:20:11
    ไก่เขาก็เลยเรียกว่าเป็น Chicken Wi
  • 00:20:15
    appearance นะเหมือน
  • 00:20:17
    กับเหมือนกับเอ่อตาข่ายลวดที่ไปขึงกงไก่
  • 00:20:24
    นะฮะก็เลยเรียกว่า Chicken War
  • 00:20:26
    appearance จะเห็นว่า for signal เนี่ย
  • 00:20:29
    ที่เป็นสีเขียวๆเนี่ยคล้ายๆกับตาข่ายของ
  • 00:20:32
    ลวดอันนี้นะ
  • 00:20:35
    ครับอันนี้การทำ immunofluorescence ก็
  • 00:20:38
    แบ่งออกเป็น 2 แบบนะฮะแบบที่ 1 ก็คือ
  • 00:20:41
    direct immunofluorescence
  • 00:20:44
    specimen ที่เอามาคือเนื้อของคนไข้ทำ
  • 00:20:47
    ไอซี่ตัดเนื้อคนไข้มาที่เนื้อของคนไข้
  • 00:20:51
    เนี่ยถ้าคนไข้เป็นโรค picus valis ก็จะ
  • 00:20:55
    มี aut แิออยู่แล้วก็คือจะมี Human igg
  • 00:21:00
    เกาะอยู่แล้วถ้าคนไข้เป็น picus
  • 00:21:04
    valis ต่อมาเราก็หยด antibody ตัวที่ 2
  • 00:21:08
    ก็คือ
  • 00:21:09
    fortin label Anti Human igg ถ้าคน
  • 00:21:14
    ไข้มี igg ก็คือ Human igg อยู่ antibody
  • 00:21:19
    ตัวที่ 2 ก็คือ Anti Human igg ก็จะไป
  • 00:21:22
    กาะกับ Human
  • 00:21:24
    igg จากนั้นเราก็ล้าง Watch ถ้าถ้าเผื่อ
  • 00:21:29
    มันมี Human igg เกาะอยู่ที่เนื้อเยอะ
  • 00:21:31
    อยู่แล้วแิอตัวที่ 2 นี้ก็จะจับอย่างแน่น
  • 00:21:34
    นะเสร็จแล้วเราก็ไปส่องดูด้วยกล้อง
  • 00:21:39
    florent ก็จะเห็น florent signal ตรง
  • 00:21:42
    ตำแหน่งที่ Human igg ของคนไข้เกาะ
  • 00:21:48
    อยู่แต่ถ้าเผื่อว่าคนไข้ไม่ได้เป็นโรคนี้
  • 00:21:53
    ไม่มี Human igg เกาะอยู่ตรงนี้เราหยด
  • 00:21:56
    Anti Human igg ลงไปเสร็จแล้วเราล้าง
  • 00:22:00
    ออกไอ้ตัว Anti Human igg มันก็ไม่มี
  • 00:22:03
    ที่เกาะมันก็จะถูกล้างออกไปพอเราไปดูใต้
  • 00:22:07
    กล้อง
  • 00:22:09
    fluent ก็จะไม่เกิด signal ให้เห็นในคน
  • 00:22:12
    ไข้ที่ไม่เป็น
  • 00:22:15
    โรคต่อมาเป็น indirect
  • 00:22:18
    immuno อันนี้สินที่เอามาจะเป็นเลือดของ
  • 00:22:22
    คนไข้ในเลือดของคนไข้เนี่ยจะมีอ Anti ก็
  • 00:22:28
    คือ Human igg
  • 00:22:30
    อยู่เราจะเอาเนื้อลิงมาเนื่องจากเราไม่
  • 00:22:36
    สามารถเอาเนื้อคนปกติได้มาใช้ได้เพราะมัน
  • 00:22:39
    ผิดจริยธรรมก็จะเอาเนื้อลิงเนื่องจากลิง
  • 00:22:42
    เนี่ยมีความใกล้ชิดกับคนมากถ้าในเลือดคน
  • 00:22:47
    ไข้มี Human igg อยู่ Human igg ก็จะไป
  • 00:22:54
    เกาะกับเนื้อของลิงนะต่อมาเราก็หยด Second
  • 00:22:59
    antibody ก็คือ Forest label Anti
  • 00:23:03
    Human igg antibody ตัวนี้จะมีสาร
  • 00:23:06
    Forest Near Track อยู่
  • 00:23:09
    ด้วยถ้าใน Serum ของคนไข้เนี่ยมี Human
  • 00:23:12
    igg เกาะอยู่เอ่อแิอตัวที่ 2 เนี่ยก็ก็
  • 00:23:17
    จะไปจับกับ Human igg จากนั้นเราก็ล้าง
  • 00:23:21
    ออกถ้ามันมีการจับกัน
  • 00:23:24
    อยู่เราก็ไปส่องดูด้วยกล้อง forent
  • 00:23:28
    ก็จะเห็น fluence signal ตรงตำแหน่งที่
  • 00:23:32
    Human igg เกาะ
  • 00:23:35
    อยู่
  • 00:23:37
    สรุป direct immuno florent specimen
  • 00:23:40
    ที่เอามาคือเนื้อของคนไข้ซึ่งจะมี Human
  • 00:23:44
    igg เกาะอยู่แล้วถ้าเป็น indirect
  • 00:23:47
    immunofluorescence
  • 00:23:49
    specimen ที่เอามาคือเลือดของคนไข้ซึ่ง
  • 00:23:52
    จะมี Human igg อยู่ต่อมาเราเอาเลือดของ
  • 00:23:57
    คนไข้เนี่ยเนี่ยไปหยดบนเนื้อเยื่อลิงถ้า
  • 00:24:02
    มัน
  • 00:24:03
    มี Human igg มันก็จะไปเกาะกับเนื้อ
  • 00:24:07
    เยื่อลิงเพราะฉะนั้นเพราะว่าเนื้อเยื่อ
  • 00:24:09
    ลิงเนี่ยเสมือนเป็นเนื้อเยื่อคนเพราะลิง
  • 00:24:11
    กับคนมีความใกล้เคียงกันมากจากนั้นเราก็
  • 00:24:15
    หยด secondary antibody ก็คือเป็น Forest
  • 00:24:18
    label Anti Human
  • 00:24:20
    igg secondary แิอก็จะไปเกาะกับ Human
  • 00:24:24
    igg ถ้าคนในคนที่เป็นโรคและแล้วเราก็ไป
  • 00:24:28
    ดูด้วยกล้องจุลทัศน์ florent ก็จะเห็น
  • 00:24:32
    fluorescent signal ตรงตำแหน่งที่มี
  • 00:24:35
    Human igg เกาะอยู่อันนี้ก็เป็นสรุปของ
  • 00:24:42
    immunol โรคต่อมานะครับก็จะเป็น mucus
  • 00:24:46
    membrane Pig เรียกอีกชื่อนึงว่าเป็น
  • 00:24:50
    cicatricial
  • 00:24:51
    Pig ก็จะเป็น chronic autoimmune
  • 00:24:55
    disease ของ mucus membrane เป็นส่วน
  • 00:24:58
    ใหญ่ตามชื่อของมันนะะัเมนเพีอยก็เกิดที่ั
  • 00:25:04
    เมนเป็นส่วนใหญ่เกิดที่สกินเป็นส่วนน้อย
  • 00:25:09
    ส่วนใหญ่ก็เกิดในคนแก่ๆนะผู้หญิงเป็นมาก
  • 00:25:13
    กว่าเป็นผู้
  • 00:25:17
    ชายลักษณะทางคลินิกก็จะเห็นบูล่าเหมือน
  • 00:25:21
    กันก็จะเป็นตุ่มน้ำขนาดใหญ่
  • 00:25:26
    นะลักษณะทางฮินะฮะก็จะเห็นว่าอันนี้เป็น
  • 00:25:31
    ชั้นของธิมใช่ไหมมครับนี่คือทั้งชั้นียม
  • 00:25:35
    จะเห็นว่ารอยแยกเนี่ยมันอยู่ต่ำกว่าิมนะ
  • 00:25:39
    ฮะเซอเซลอยู่ติดไปกับิมติดไปกับรูฟของรอย
  • 00:25:46
    โลกรอยแยกเนี่ยอยู่ต่ำกว่าธีมเพราะฉะนั้น
  • 00:25:50
    เราก็จะเรียกว่าสับแปลว่าใต้ใช่มอย่าง
  • 00:25:54
    เช่นไปเล่นสเกตน้ำแข็งสับ zer
  • 00:25:58
    temperature ตต่ำกว่า 0 องศาอันนี้ก็คือ
  • 00:26:02
    sub epithelial blister หรือ sub
  • 00:26:06
    epithelial
  • 00:26:07
    separation ก็มีรอยแยกต่ำกว่าชั้นิีนะ
  • 00:26:13
    อันนี้ก็จะพบใน mucus membrane
  • 00:26:17
    Pig แล้วถ้าทำ immuno florent จะเห็น
  • 00:26:22
    florent signal ที่เป็นสีเขียวๆเนี่ย
  • 00:26:27
    อยู่ตรงตำแหน่งรอยต่อระหว่าง epit helium
  • 00:26:31
    กับ connective tissue ลักษณะเป็น linear
  • 00:26:35
    Pattern เป็นเส้นๆนะใน picus vulgaris
  • 00:26:40
    เราจะเห็นเป็น Chicken W appearance ใน
  • 00:26:43
    mucus membrane Pig จะเห็นเป็น linear
  • 00:26:47
    Pattern ของ antibody ต่อ
  • 00:26:50
    igg หรือ complement Factor
  • 00:26:55
    3 โลกต่อมาเป็น len PL นันะ
  • 00:27:00
    ครับอันนี้ก็จะพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
  • 00:27:03
    นะฮะผู้หญิงอายุตั้งแต่กลางคนขึ้น
  • 00:27:09
    ไปลักษณะ typical rash ของ liken planus
  • 00:27:14
    ก็จะบรรยายด้วย 5p ก็คือมี pric แปลว่า
  • 00:27:18
    คัน pln แปลว่า Flat
  • 00:27:22
    to แปลว่าแบนๆตอนด้านบนแบนๆ Purple สี
  • 00:27:27
    ม่วง polygonal รูปร่างหลายเหลี่ยม pil
  • 00:27:31
    เป็นตุ่มเนื้อตันขนาดเล็กๆจะเกิดที่
  • 00:27:34
    บริเวณ flexor จนอันนี้เป็นข้อนะครับข้อ
  • 00:27:39
    อย่างข้อข้อข้อข้อ 2 เนี่ยด้านนี้เรียก
  • 00:27:43
    ว่าเกอด้านที่อยู่ข้างในเกอด้านนอกเรียก
  • 00:27:47
    ว่า extensor เพราะฉะนั้นนี้อยู่ flexor
  • 00:27:51
    region อาจจะเกิดที่ข้อมือลำตัวต้นขา
  • 00:27:58
    Shin of tbia ก็คือหน้าแข้งนะฮะที่
  • 00:28:01
    เล็บแล้วก็หนังศีรษะหรือ oral mucosa
  • 00:28:05
    หลังจากเกิดรอยโรค len planus พอหายอาจ
  • 00:28:10
    จะเกิด Post len hyperpigmentation ก็
  • 00:28:14
    คือเกิด
  • 00:28:15
    พิมเกิดขึ้นได้อันนี้ก็เป็นลักษณะทาง
  • 00:28:20
    คลินิคของ len พนัที่เกิดที่ผิวหนังนะก็
  • 00:28:24
    จะมี bolas ก็คือสีม่วง Poly goral Flat
  • 00:28:28
    Top ก็คือ plan หน้าแิหรือ PL พวกนี้
  • 00:28:33
    นะถ้าดูดีๆมันจะมีขุยขาวๆเรียงต่อกันอัน
  • 00:28:38
    เราเรียกว่าเป็น wickham
  • 00:28:43
    str เอ่อ ren planus ที่เราพบมีหลาย
  • 00:28:46
    แพทเทิร์นแต่อันที่ typical ก็คือ rec
  • 00:28:49
    acular Pattern ก็จะเห็นเป็นเส้นสีขาวๆ
  • 00:28:53
    เรียงต่อกันคล้ายๆลูกไม้นะเรียกว่า W
  • 00:28:58
    str len planus เนี่ยในปากตำแหน่งที่
  • 00:29:02
    พบมากที่สุดก็คือ bual muca แล้วมันจะ
  • 00:29:06
    เกิด 2 ข้าง
  • 00:29:08
    bilateral แบบ retic particular
  • 00:29:10
    Pattern ที่เป็นรอยขาวๆเนี่ยคนไข้จะไม่
  • 00:29:13
    มีอาการ asymptomatic ไม่มี
  • 00:29:17
    อาการอันนี้ก็เป็นรูปของ len planus ที่
  • 00:29:21
    เกิดในช่องปากที่เป็นแบบ rec acular
  • 00:29:23
    Pattern ซึ่งจะเป็นเส้นสีขาวๆต่อกันไปมา
  • 00:29:27
    คล้ายๆกับลูก
  • 00:29:29
    ไม้พอเห็นข้างนี้ก็ไปดูอีกข้างนึงว่ามัน
  • 00:29:32
    มีหรือเปล่าถ้าเป็น lin เพัจะเป็น 2
  • 00:29:37
    ข้างลักษณะทาง his ของ len planus ก็จะ
  • 00:29:41
    มี Hyper ath carat ก็คือมีชั้นของเติน
  • 00:29:47
    หนากว่าปกติ Hyper
  • 00:29:49
    paros มีพาคินหนากว่าปกติมี cantos นะะ
  • 00:29:55
    ก็คือมี thickening ของ prickle Cell
  • 00:29:59
    layer มี basal Cell
  • 00:30:03
    degeneration แล้วก็มี Saw toth
  • 00:30:06
    appearance ของ R pake หรือ R rid
  • 00:30:09
    แล้วก็จะมี lymoc
  • 00:30:13
    Band อันนี้นะฮะจะให้ดูลูกศรสีแดงก็มี
  • 00:30:19
    hyperkeratosis ก็คือชั้นของคตีเนี่ยหนา
  • 00:30:23
    ตัวกว่า
  • 00:30:25
    ปกติเมื่อเช้าเราดู H พาราเติคือในชั้น
  • 00:30:29
    ของเตินเนี่ยจะเห็นนิวเคลียสอยู่ด้วยแต่
  • 00:30:32
    อันนี้เป็นไฮเปอร์ kosit คือในชั้นของ
  • 00:30:35
    เตินเนี่ยจะไม่มีนิวเคลียสแต่ว่าความหนา
  • 00:30:39
    ของเตินเนี่ยจะหนากว่า
  • 00:30:42
    ปกติอันต่อมาลูกศรสีเขียวนะฮะแถวนี้ก็ได้
  • 00:30:48
    หรือตรงนี้จะเห็น jacket outline ของิม
  • 00:30:52
    เนื่องจากมี basal Cell degeneration
  • 00:30:58
    ในรอยต่อปกติระหว่าง epithelium กับ
  • 00:31:02
    connective tissue จะมีรอยต่อเนี้ย
  • 00:31:05
    Sharp เหมือนกับที่เราเรียกว่าเป็น ey
  • 00:31:08
    Liner SI เขียนตาเนี่ยรอยจะ Sharp เป็น
  • 00:31:13
    เส้นคมชัดรอยต่อระหว่าง basal Cell กับ
  • 00:31:17
    connective issue ก็จะคมชัดแต่ใน lin
  • 00:31:22
    planus มันมี basal Cell degeneration
  • 00:31:26
    ก็จะเห็นรอยต่อหยึกอยาก jacket outline
  • 00:31:30
    ของ
  • 00:31:30
    epithelium เนื่องจากว่ามี basal Cell
  • 00:31:33
    degeneration มองไปเราก็จะไม่ชัวรว่า
  • 00:31:37
    epithelium เนี่ยสิ้นสุดตรงไหนหรือ
  • 00:31:40
    connective psu เริ่มต้นตรงไหนเพราะว่า
  • 00:31:43
    มันมี basal Cell degeneration ตรงนี้
  • 00:31:46
    ไม่เหมือนกับแถบตรงนี้ค่อนข้างจะเห็นรอย
  • 00:31:49
    ต่อชัดเจนระหว่าง basal Cell กับ
  • 00:31:52
    connective tissue แต่ตรงนี้จะไม่ค่อย
  • 00:31:54
    ชัดเนื่องจาก basal Cell degeneration
  • 00:31:56
    แลแถกข้างล่างอันนี้ก็จะเป็น lymph site
  • 00:31:59
    Band เป็นแถบของ
  • 00:32:03
    Lite อันนี้ก็จะให้เห็นอันนี้จะเป็น
  • 00:32:07
    basal Cell degeneration นะฮะก็จะเห็น
  • 00:32:09
    ว่ารอยต่อระหว่าง epithelium กับ
  • 00:32:11
    connective ue มันไม่ค่อยชัดต่อมาจะ
  • 00:32:14
    เห็น lym site Band จะเห็นว่ามีแถบซึ่ง
  • 00:32:18
    ของิตอยู่ตรงนี้จะมี acis นะฮะก็คือมี
  • 00:32:23
    thickening ของ PR Cell layer ส่วน
  • 00:32:26
    ข้างบนสุดเก็จะเป็น Hyper
  • 00:32:29
    พาติเป็นชั้นของพาคินที่หนาตัวขึ้นจะเห็น
  • 00:32:34
    ว่าอันนี้มีนิวเคลียสอยู่ข้างในอันนี้ก็
  • 00:32:36
    จะเป็น
  • 00:32:39
    พาคินอันนี้ก็จะเป็น
  • 00:32:42
    imaginary ของฝรั่งซึ่งจะเห็นว่าส่วนของ
  • 00:32:47
    ิธีที่ยื่นลงไปใน connective tissue อัน
  • 00:32:50
    นี้เรียกว่า Rate pake หรือ R rid มัน
  • 00:32:54
    มีลักษณะคล้ายๆกับฟันเลื่อยก็เลยเรียกว่า
  • 00:32:58
    Saw Tooth appearance
  • 00:33:02
    นะอันนี้ก็จะเห็นส่วนของ epi ที่ยื่นลงมา
  • 00:33:07
    ใน cognitive tissue อันนี้อันนี้ก็เป็น
  • 00:33:09
    s Tooth appearance ของ R R or R
  • 00:33:14
    pake ข้างล่างก็จะมีแถบของ
  • 00:33:20
    lymph นอกจากนั้นอาจจะเจอพวก apoptotic
  • 00:33:25
    เซลก็คือเซลล์ที่ตายด้วย process ของ
  • 00:33:28
    apoptosis เราเรียกเซ์พวกนี้เป็น Cat
  • 00:33:32
    Body นะ
  • 00:33:35
    ฮะถ้าทำ immunofluorescence จะเห็นเอ่อ
  • 00:33:39
    immuno เอ่อเห็น fluorescent signal
  • 00:33:43
    อยู่ตรงรอยต่อระหว่าง epithelium กับ
  • 00:33:46
    connective tissue ถ้าทำด้วยเอ่อแิอต่อ
  • 00:33:50
    fibrinogen หรือ complement Factor 3
  • 00:33:54
    นะะใน len planus ไม่เหมือนกับใน
  • 00:33:58
    membrane Pig จะเป็น ody จะเป็น igg
  • 00:34:01
    หรือ complement Factor 3 แต่ใน len
  • 00:34:04
    planus จะเป็น fibrinogen หรือ
  • 00:34:08
    complement Factor 3 นะก็จะเห็น
  • 00:34:10
    florent signal ที่เป็นสีเขียวๆนี่อยู่
  • 00:34:13
    ตรงรอยต่อระหว่าง epithelium กับ
  • 00:34:16
    connective
  • 00:34:17
    tissue อ่าอันนี้ก็เป็น Lecture จบอัน
  • 00:34:21
    นี้นะครับ
  • 00:34:25
    เดี๋ยวเรา
  • 00:34:30
    แล้วเรา Stop recording ทำอย่าง
  • 00:34:50
    ไร
  • 00:34:53
    หะไม่แล้วทำยังไงให้มันเลิกอ่ะ
  • 00:35:00
    แล้ว
  • 00:35:02
    จะ
  • 00:35:04
    ใช่อันไหนครับเดี๋ยวๆๆอันอันนี้ยังยังไม่
  • 00:35:09
    ยังไม่เสร็จอันเนี้ยทำไงมันไม่เห็นแชร์ห
  • 00:35:12
    อ๋อแชร์อ่ะนั่งที่ก่อ๋๋ดูดูในสไลด์ของเรา
  • 00:35:25
    ก่อนอันนี้ก็เป็น picus val garis นะ
  • 00:35:30
    ฮะก็บอกแล้วว่าจะมี aut ody ต่อ desmo
  • 00:35:34
    Green tre ใน moso dominant type
  • 00:35:37
    เอ่อมี Auto ody ต่อ desmo 3 และ desmo
  • 00:35:41
    1 ใน Mu cous type ของ picus
  • 00:35:48
    vulgaris antibody ก็จะมา attack ตรง
  • 00:35:51
    ตำแหน่งที่เซลล์มันยึดเกาะกันนะครับ
  • 00:35:58
    ภาพทางคลีอาจารย์ภาสวัตก็คงให้ดูไป
  • 00:36:03
    แล้วอันนี้ก็เป็นลักษณะ
  • 00:36:05
    immunofluorescence ของ picus valar ก็
  • 00:36:08
    จะเห็นว่าจะเห็น fluorescent signal ที่
  • 00:36:11
    อยู่ตรง intercellular Junction อันนี้
  • 00:36:13
    ในไ microscope นะฮะลักษณะเรียกว่าเป็น
  • 00:36:17
    Chicken W
  • 00:36:20
    appearance อันนี้ภาพทาง
  • 00:36:24
    his ภาพทาง his นะฮก็จะเห็นว่าอันนี้
  • 00:36:27
    ตั้งแต่ตรงนี้ถึงตรงนี้เป็นส่วนของธีมจะ
  • 00:36:31
    เห็นว่ามีรอยแยกที่เกิดขึ้นภายในชั้นธีม
  • 00:36:34
    รอยแยกที่เป็นช่องขาวๆเนี่ยเกิดขึ้นภายใน
  • 00:36:37
    ชั้นธีมอยู่เหนือเซอเซลล์อันนี้คือเซอ
  • 00:36:40
    เซลล์นะ
  • 00:36:43
    ฮะซึ่งเซอเซลล์เนี่ยก็จะเรียงตัวกันปก
  • 00:36:48
    คลุมฉ connected พิชูคล้ายๆกับหินที่หลุม
  • 00:36:53
    ฝังศพของฝรั่งก็คือ tomestone ก็มีลักษณะ
  • 00:36:56
    เมือนเป็น ow ของ
  • 00:37:00
    tombstone นอกจากนั้นในช่องว่างๆเนี่ยจะ
  • 00:37:04
    มีเซลล์ที่ลอยอยู่อาจจะเป็นเซลล์เดี่ยวๆ
  • 00:37:09
    หรือกลุ่มของเซลล์เรียกว่า sank Cell or
  • 00:37:13
    atic Cell เกิดจาก process ที่เรียกว่า
  • 00:37:17
    acis คือการสูญเสียการยึดเกาะกันระหว่าง
  • 00:37:22
    เซลล์อันนี้จะเป็นสไลด์ของเรานะครับก็จะ
  • 00:37:26
    เห็น
  • 00:37:27
    ตั้งแต่ตรงนี้ถึงตรงนี้คือชั้นธีมจะเห็น
  • 00:37:31
    ว่ามันมีรอยแยกที่เกิดขึ้นภายในชั้นธีม
  • 00:37:35
    เรียกว่า inra epithelial
  • 00:37:41
    vesicle อาดูกำลังขยายสูงขึ้นจะเห็นว่า
  • 00:37:45
    รอยแยกเนี่ยมันอยู่เหนือชั้นเซอเซล์นะ
  • 00:37:51
    ฮะในช่องว่างๆหรือใน vesicle เนี่ยจะมี
  • 00:37:56
    เซลล์ที่ลอยๆอยู่อาจจะเป็นเซลล์เดี่ยว
  • 00:37:59
    หรือเป็นกลุ่มของเซลล์เรียกว่า s เซลล
  • 00:38:03
    หรือ anant itic Cell ส่วนชั้นเ Bal
  • 00:38:07
    Cell เนี่ยก็จะอยู่ตรง flaw ของรอยโรกอ
  • 00:38:11
    มีลักษณะเหมือน Row of Tom
  • 00:38:17
    Stone โลกต่อมาจะเป็น mucus mem เพีอย
  • 00:38:22
    นะ
  • 00:38:23
    ครับโลกนี้ชื่อมันก็บอกแล้วว่า mil
  • 00:38:28
    เมนนั้นโรคเกิดที่วัเมนเป็นส่วนใหญ่เกิด
  • 00:38:33
    ที่สินที่สกินน้อยมากนะวัเมนก็อย่างเช่น
  • 00:38:37
    เอ่อคองจังซีของ
  • 00:38:40
    ตาในปากนะครับก็จะเห็นมี
  • 00:38:44
    เหงือกแดงมีหลุดลอกของเหงือกนะฮะอันนี้ก็
  • 00:38:50
    จะเป็น
  • 00:38:51
    เอ่อบัสที่เกิดขึ้นใหม่ๆก็ยังเห็นเป็น
  • 00:38:56
    ตุ่มน้ำอยู่เพะพอมันแตกออกก็จะกลายเป็น
  • 00:39:00
    แผลลักษณะทาง his ของ mucus
  • 00:39:04
    membrane ก็จะมีรอยแยกซึ่งอยู่ต่ำกว่า
  • 00:39:07
    ชั้นิมนะฮะอันนี้ก็จะ
  • 00:39:11
    เป็น split Between epithelium and
  • 00:39:14
    connective tissue ถ้าทำ direct
  • 00:39:17
    immunofluorescence ก็จะเห็นเอ่อ florent
  • 00:39:20
    signal ที่เป็นสีเขียวๆอยู่ตรงรอยต่อ
  • 00:39:22
    ระหว่าง epit helium กับ connective
  • 00:39:24
    tissue ลักษณะเป็น linear Pattern
  • 00:39:28
    ถ้าใช้แิอต่อ igg และ complement Factor
  • 00:39:33
    3 อันนี้ก็จะเป็น s ของเรานะครับก็จะมี
  • 00:39:36
    เอ่อิมอยู่จะเห็นว่ารอยแยกเนี่ยมันอยู่
  • 00:39:40
    ต่ำกว่าชั้น basal เซลคือิมทั้งชั้นเนี่ย
  • 00:39:44
    ฟอร์มเป็น Roof ของรอย
  • 00:39:46
    โลกนะดูกำลังขยายสูงขึ้นจะเห็นว่าธีมทั้ง
  • 00:39:51
    ชั้นเนี่ยฟอร์มเป็นรูฟของรอยโรคโดยเซอ
  • 00:39:54
    เซลลเนี่ยติดไปกับรูฟของรอยโรคนะ
  • 00:40:00
    ครับโลกต่อมาเป็น len planus นะ
  • 00:40:09
    ฮะอันนี้ก็จะเห็นว่าที่เห็นตั้งแต่กำลัง
  • 00:40:14
    ขยายต่ำๆนี้จะเห็นว่า rated rid หรือ
  • 00:40:18
    rated pake เนี่ยยื่นลงมาใน connective
  • 00:40:21
    ue ลักษณะคล้ายๆกับฟันเลื่อยก็เรียกว่า
  • 00:40:24
    เป็น s Tooth appearance ต่อมามาเราจะ
  • 00:40:27
    เห็นว่ามีจุดม่วงๆเรียงกันเป็นแถบใต้ิม
  • 00:40:32
    อันนี้ก็คือลิมโฟไซต์ Band นะพวกนี้ที่
  • 00:40:35
    เป็นจุดสีม่วงๆเนี่ยก็คือลิมโฟไซต์เรียง
  • 00:40:38
    กันเป็นแถบอยู่ชิดกับ
  • 00:40:41
    ธีมอันนี้นะฮจะเห็นว่ามี S toth
  • 00:40:44
    appearance ของ
  • 00:40:47
    ิมชั้นบนสุดจะมี Hyper paros ก็คือชั้น
  • 00:40:53
    พาคินหนาตัวขึ้นชั้นต่อมาคือชั้น pral
  • 00:40:58
    Sell มีการหนายตัวขึ้นเรียกว่า
  • 00:41:01
    acis ต่อมาจะเห็น lymoc Band ก็คือแถบ
  • 00:41:07
    ของลิมโฟไซต์ที่อยู่ติดกับ
  • 00:41:11
    ิมนี่ดู High of magnification จะเห็น
  • 00:41:14
    ว่าตรงนี้มี basal Cell
  • 00:41:18
    degeneration จะไม่ชัวร์ว่าิมสิ้นสุดตรง
  • 00:41:23
    ไหนอย่างตรงนี้ค่อนข้างชัดกว่าจะเห็นว่า
  • 00:41:26
    ียมมันหยุดอยู่ตรงนี้นะ connective ก็
  • 00:41:28
    เริ่มตรงนี้แต่ตรงนี้มันเบลอๆรอยต่อไม่
  • 00:41:32
    แน่นอนไม่สามารถไม่ชัวร์ว่ามันอยู่ตรงไหน
  • 00:41:36
    แน่รอยต่อและข้างล่างก็จะมีลิมโฟไซต์
  • 00:41:40
    อยู่อันนี้ก็เป็นิต Band นะ
  • 00:41:47
    ครับอันที่ 1 ที่เราเห็นก็คือมี Hyper
  • 00:41:52
    par caris อันที่ 2 จะเห็นว่าชั้น
  • 00:41:55
    พิกเกอร์เซลล์หนาตัวขึ้นก็คือ cantos และ
  • 00:41:59
    อันที่ 3 ก็คือมีิต Band ที่อยู่ติดกับ
  • 00:42:03
    ธีมจะเห็นว่ามีเซลล์ของลิมโฟไซต์เรียงตัว
  • 00:42:06
    กันเป็นแถบแถบติดกับ
  • 00:42:10
    ธีมอันที่ 4 ก็จะเห็น basal Cell
  • 00:42:13
    degeneration นะฮะมีการ degeneration
  • 00:42:16
    ของ basal
  • 00:42:18
    Cell อันที่ 3 นี่ก็เป็นลิมโฟไซต์ Band
  • 00:42:22
    นะครับจะเห็นเอ่อลิมโฟไซต์เรียงตัวเป็น
  • 00:42:25
    แถบอยู่ติดกับ
  • 00:42:28
    ิมอ่าอันนี้ก็หมดวันนี้นะครับมีแค่ 3
  • 00:42:32
    สไลด์
Tags
  • pemphigus vulgaris
  • mucocutaneous disorders
  • autoimmune disease
  • blistering
  • acantholysis
  • desmosomes
  • immunofluorescence
  • autoantibodies
  • middle-aged
  • chronic disease